ทำวัตรเช้า - วัตรเย็น (ไทย-อังกฤษ) และบทอื่นๆ (VIDEO และ MP3)
webmaster - 2/8/08 at 05:57

...Update เสียงสวดมนต์ทำวัตรเช้า - เย็น ใหม่ (New) แล้วก็เพิ่มเสียงบทสวดมนต์ "วันเสาร์" คือ ยะโตหัง ภคินี, โพชฌังโค, มงคลจักรวาฬใหญ่ และ บทธัมมนิยาม โดยปรับปรุงให้เสียงดีขึ้นกว่าเดิม

เสียงสวดมนต์ทำวัตรเช้า - วัตรเย็นนี้ เป็นเสียงสวดจากพระสงฆ์วัดท่าซุง และมีวัดอื่นสวดมนต์บทต่าง ๆ อีกด้วย พร้อมทั้งเสียงบทเพลงเสียงสวดมนต์ ฟังแล้วจิตใจสงบเป็นสมาธิดีมาก หวังว่าคงเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ชอบฟังเสียงสวดมนต์ทั้งหลาย ตามที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อกล่าวไว้ว่า "สวดมนต์..เป็นยาทา ภาวนา..เป็นยากิน" นั่นเอง

(Update 1 เมษายน 2559)

ทำวัตรเช้า และ ทำวัตรเย็น

หน้า A
หน้า B


หน้า A
หน้า B


ทำวัตรเช้า และ ธรรมนิยาม

หน้า A
หน้า B


เสียงสวดมนต์บทต่างๆ
ลำดับที่รายชื่อบทสวดมนต์คลิกฟังเสียง
01ทำวัตรเช้า วัดท่าซุง (New)
02ทำวัตรเย็น วัดท่าซุง (New)
02-3สวดมนต์เย็น 1 วัดท่าซุง (New)
02-4สวดมนต์เย็น 2 วัดท่าซุง (New)
02-5 บทธัมมนิยาม วัดท่าซุง (New)
03-1บทถวายพรพระ
03-2สวดมนต์ (แบบล้านนา)
04 บทธัมมจักรฯ
05บทเพลงพุทธัง สรณัง
06บทเพลงถวายพรพระ
07บทเพลงคาถาชินบัญชร



คลิปเสียงชุดนี้ ลิขสิทธิ์เป็นของวัดท่าซุง จัดทำโดยพระเจ้าหน้าที่ "ศาลานวราช"


webmaster - 1/10/08 at 14:43

สารบัญ

(เลือก "คลิก" อ่านได้แต่ละบท)


01.
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า
02. - ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะวิธี
03. - ปัตติทานะคาถา
04. บทสวดมนต์ทำวัตรเย็น
05. - สะระณะคะมะนะปาฐะ
06. - พระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์
07. - นะมะการะสิทธิคาถา (สัมพุทเธ)
08. - นะโมการะอัฏฐะกะ (นะโม ๘ บท)
09. - มังคะละสุตตัง (อะเสวะนา)
10. - รัตนสูตร (ยังกิญจิ)
11. - กะระณียะเมตตะสุตตัง (เมตตัญจะ)
12. - ขันธะปะริตตะคาถา (วิรูปักเข)
13. - โมระปริตร (อุเทตะยัญจักขุมา)
14. - วัฏฏกปริตร (อัตถิ โลเก)
15. - อะภิณหะปัจจะเวกขะณะ (แปล)
16. - กายะคะตาสะติภาวะนา (แปล)
17. - บารมี ๓๐ ทัศ
18. - ไหว้พระพุทธเจ้า ๕ พระองค์ (แปล)
19. - คำแผ่เมตตา
20. - บทสวดมนต์ภาษาอังกฤษ/a>




บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า

(เมื่อหัวหน้าจุดเทียน ธูป พึงนั่งคุกเข่าประนมมือพร้อมกัน หัวหน้านำให้ว่าตามทีละตอน)

โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม
สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง
อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ
ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ฯ
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ (กราบ)

(นำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง
กะโรมะ เส ฯ
(รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

(นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส ฯ
(รับ) โย โส ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะ-
สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา-
เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา, โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง
สะมาระกัง สะพรัหมะกัง, สัสสะมะณะพราหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะ-
นุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัตวา ปะเวเทสิ, โย ธัมมัง เทเสสิ
อาทิกัลยาณัง มัชเฌกัลยาณัง ปะริโยสานะกัลยาณัง, สาตถัง
สะพยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พรัหมะจะริยัง
ปะกาเสสิ, ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง ภะคะวันตัง
สิระสา นะมามิ ฯ
(กราบ)

(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส ฯ
(รับ) โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก
เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ, ตะมะหัง
ธัมมัง อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมานิ ฯ
(กราบ)

(นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส ฯ
(รับ) โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต

สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆล อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย,
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ, ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ
ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ ฯ
(กราบ)
(นั่งพับเพียบ)

(นำ) หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะ
ปะริกิตตะนะ ปาฐัญจะ ภะณามะ เส ฯ
(ถ้าจะสวดครึ่งเดียว คือลงแค่ ปะภาวะสิทธิยา ไม่ต่อ อิธะ
ตะถาคะโต ก็นำเพียงครึ่งเดียวว่า หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะ-
คาถาโย ภะณามะ เส ฯ)

(รับ) พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว
โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน
โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก
วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง
ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน
โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก
โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน

วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง
สังโฆ สุเขตตายะติเขตตะสัญญิโต
โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก
โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส

วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง
อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง
วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง
ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปัททะวา
มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสัทธิยา ฯ

(ถ้ามีเวลาพอ ให้สวด "สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐะ" ต่อไปนี้)

อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก
สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต, มะยันตัง ธัมมัง สุตวา เอวัง
ชานามะ, ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทุกขา, มะระณัมปิ ทุกขัง,
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา, อัปปิเยหิ สัมปะโยโค
ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ
ทุกขัง, สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา, เสยยะถีทัง,

รูปูปาทานักขันโธ, เวทะนูปาทานักขันโธ, สัญญูปาทานักขันโธ,
สังขารูปาทานนักขันโธ, วิญญาณูปาทานักขันโธ, เยสัง ปะริญญายะ,
ธะระมาโน โส ภะคะวา, เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ, เอวัง
ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลา
ปะวัตตะติ, รูปัง อะนิจจัง, เวทะนา อะนิจจา, สัญญา อะนิจจา,
สังขารา อะนิจจา, วิญญาณัง อะนิจจัง, รูปัง อะนัตตา, เวทะนา
อะนัตตา, สัญญา อะนัตตา, สังขารา อะนัตตา, วิญญาณัง อะนัตตา,
สัพเพ สังขารา อะนิจจา, สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ, เต มะยัง

โอติณณามะหะ ชาติยา ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ
โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, ทุกโขติณณา ทุกขะปะเรตา,
อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยา
ปัญญาเยถาติ, จิระปะรินิพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ
อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง, สัทธา อะคารัสมา อะนะคาริยัง
ปัพพะชิตา, ตัสมิง ภะคะวะติ พรัหมะจะริยัง จะรามะ,
ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปันนา, ตัง โน พรัหมะจะริยัง อิมัสสะ
้เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตูติ ฯ

(สามเณรสวดพึงลดคำว่า "ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปันนา"
ที่ขีดเส้นใต้ออกเสีย ถ้าคฤหัสถ์สวด ตั้งแต่ "อิธะ ตะถาคะโต จนถึง
ปัญญาเยถาติ" แล้วสวดดังนี้ "จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง
สะระณัง คะตา ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ ตัสสะ ภะคะวะโต
สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปัชชามะ
สา สา โน ปะฏิปัตติ อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ
อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ" ฯ

อนึ่ง ถ้าสตรีสวด "เต มะยัง" นั้น ให้แปลงเป็น "ตา มะยัง" บทว่า
"ปะรินิพพานิโก" มีในฉบับสีหฬ เป็น "ปะรินิพพายิโก" ฉะนี้ทุกแห่ง)

◄ll กลับสู่ด้านบน




ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะวิธี

(นำ) หันทะ มะยัง ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะ ปาฐัง ภะณามะ เส ฯ

(รับ) ปะฏิสังขา โยนิโส จีวะรัง ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ สีตัสสะ
ปะฏิฆาตายะ, อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะ-
สิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ หิริโกปินะปะฏิจฉา-
ทะนัตถัง ฯ
ปะฏิสังขา โยนิโส ปิณฑะปาตัง ปะฏิเสวามิ, เนวะ ทวายะ
นะ มะทายะ นะ มัณฑะนาย นะ วิภูสะนายะ, ยาวะเทวะ อิมัสสะ
กายัสสะ ฐิติยา ยาปะนายะ วิหิงสุปะระติยา พรัหมมะจะริยานุคคะหายะ,
อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ นะวัญจะ เวทะนัง นะ
อุปปาเทสสามิ, ยาตรา จะ เม ภะวัสสะติ อะนะวัชชะตา จะ
ผาสุวิหาโร จาติ ฯ
ปะฏิสังขา โยนิโส เสนาสะนัง ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ สีตัสสะ
ปะฏิฆาตายะ, อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริง-
สะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง
ปะฏิสัลลานารามัตถัง ฯ
ปะฏิสังขา โยนิโส คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขารัง
ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ อุปปันนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง
ปะฏิฆาตายะ, อัพยาปัชฌะปะระมะตายาติ ฯ

◄ll กลับสู่ด้านบน




ปัตติทานะคาถา

(นำ) หันทะ มะยัง ปัตติทานะ คาถา โย ภะณามะ เส ฯ
(รับ) ยา เทวะตา สันติ วิหาระวาสินี
ถูเป ฆะเร โพธิฆะเร ตะหิง ตะหิง
ตา ธัมมะทาเนนะ ภะวันเต ปูชิตา
โสตถิง กะโรนเตธะ วิหาระมัณฑะเล
เถรา จะ มัชฌา นะวะกา จะ ภิกขะโว
สารามิกา ทานะปะตี อุปาสะกา
คามา จะ เทสา นิคะมา จะ อิสสะรา
สัปปาณะภูตา สุขิตา ภะวันตุ เต
ชะลาพุชา เยปิ จะ อัณฑะสัมภะวา
สังเสทะชาตา อะถะโวปะปาติกา
นิยยานิกัง ธัมมะวะรัง ปะฏิจจะ เต
สัพเพปิ ทุกขัสสะ กะโรนตุ สังขะยัง ฯ
ฐาตุ จิรัง สะตัง ธัมโม ธัมมัทธะรา จะ ปุคคะลา
สังโฆ โหตุ สะมัคโค วะ อัตถายะ จะ หิตายะ จะ
อัมเห รักขะตุ สัมธัมโม สัพเพปิ ธัมมะจาริโน
วุฑฒิง สัมปาปุเณยยามะ ธัมเม อะริยัปปะเวทิเต ฯ
ปะสันนา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน พุทธะสาสะเน
สัมมา ธารัง ปะเวจฉันโต กาเล เทโว ปะวัสสะตุ
วุฑฒิภาวายะ สัตตานัง สะมิทธัง เนตุ เมทะนิง
มาตา ปิตา จะ อัตระชัง นิจจัง รักขันติ ปุตตะกัง
เอวัง ธัมเมนะ ราชาโน ปะชัง รักขันตุ สัพพะทา ฯ

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)

สุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ (กราบ)

◄ll กลับสู่ด้านบน




บทสวดมนต์ทำวัตรเย็น

นมัสการพระรัตนตรัย

( พึงนั่งคุกเข่า )

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)

สุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ (กราบ)

ปุพพะภาคะนะมะการะ
(นำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะ การัง กะโรมะ เสฯ

(รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

พุทธานุสสติ
(นำ) หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง กะโรมะ เสฯ

(รับ) ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัลยาโณ
กิตติสัทโท อัพภุคคะโต,
อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะ
สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.
( ระลึกถึงพระพุทธคุณ )

พุทธาภิคีติ
(นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิคีตัง กะโรมะ เส

(รับ) พุทธะวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต, สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ
สะมาคะตัตโต, โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร, วันทา
มะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง
พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง
พุทธัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร,
พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม.
พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน,
พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา,

(หมอบกราบลงว่า)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ.

ธัมมานุสสติ
(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เสฯ

(รับ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญ**ติ.
( ระลึกถึงพระธรรมคุณ )

ธัมมาภิคีติ
(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส

(รับ) สวากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย,
โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท,
ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี,
วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง.

ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง
ธัมมัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร,
ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม.
ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน,
ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา,

(หมอบกราบลงว่า)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ธัมมัง กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม.

สังฆานุสสติ
(นำ) หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เสฯ

(รับ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย,
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.
(ระลึกถึงพระสังฆคุณ)

สังฆาภิคีติ
(นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส

(รับ) สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต,
โยฎฐัพพิโธ อริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ,
สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต,
วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง.
สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง
สังฆัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร,
สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม.
สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน,
สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา,

(หมอบกราบลงว่า)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ.


◄ll กลับสู่ด้านบน




สะระณะคะมะนะปาฐะ
( พึงนั่งพับเพียบ )

พุทธัง สาระณัง คัจฉามิ,
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ,


สัจจะกิริยาคาถา
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหนตุ สัพพะทา,

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหนตุ สัพพะทา,

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหนตุ สัพพะทา.

◄ll กลับสู่ด้านบน


พระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์
นะโม เม สัพพะพุทธานัง อุปปันนานัง มะเหสิหัง
ตัณหังกะโร มะหาวีโร เมธังกะโร มะหายะโส
สะระณังกะโร โลกะหิโต ทีปังกะโร ชุตินธะโร
โกณฑัญโญ ชะนะปาโมกโข มังคะโล ปุริสาสะโภ

สุมะโน สุมะโน ธีโร เรวะโต ระติวัฑฒะโน
โสภีโต คุณะสัมปันโน อะโนมะทัสสิ ชะนุตตะโม
ปะทุโม โลกะปัชโชโต นาระโท วะระสาระถี
ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร สุเมโธ อัปปะฏิปุคคะโล

สุชาโต สัพพะโลกัคโค ปิยะทัสสี นาราสะโก
อัตถะทัสสิ การุณิโก ธัมมะทัสสิ ตะโมนุโท
สัทธัตโถ อะสะโม โลเก ติสโส จะ วะทะตัง วะโร
ปุสโส จะ วะระโท พุทโธ วิปัสสี จะ อะนูปะโม

สิขี สัพพะหิโต สัตถา เวสสะภู สุขะทายะโก
กะกุสันโธ สัตถะวาโห โกนาคะมะโน ระณัญชะโห
กัสสะโป สิริสัมปันโน โคตะโม สักยะปุงคะโวฯ.

◄ll กลับสู่ด้านบน

นะมะการะสิทธิคาถา
( บทแสดงความนอบน้อมพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในอดีต
เพื่อขจัดอุปัทวันตรายทั้งปวง )

๑. สัมพุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆังจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง

๒. นะมะการานุภาเวนะ หันตะวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต

๓. สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ จะตุวีสะติสะหัสสะเก
ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆังจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง

๔. นะมะการานุภาเวนะ หันตะวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต

๕. สัมพุทเธ นุวุตตะระสะเต อัฏฐจัตตาฬีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆังจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง

๖. นะมะการานุภาเวนะ หันตะวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต

◄ll กลับสู่ด้านบน

นะโมการะอัฏฐะกะ ( นะโม ๘ บท )
( บทสวดนอบน้อมพระรัตนตรัย ขอความสวัสดีจงมีแก่ผู้ฟัง )
นะโม อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ มะเหสิโน
นะโม อุตตะมะธัมมัสสะ สวากขาตัสเสวะ เตนิธะ
นะโม มะหาสังฆัสสาปิ วิสุทธะสีละทิฏฐิโน
นะโม โอมาตยารัทธัสสะ ระตะนัตตะยัสสะ สาธุกัง
นะโม โอมะกาตี ตัสสะ ตัสสะวัตถุตตะยัสสะปิ
นะโม การัปปะภาเวนะ วิคัจฉันตุ อุปัททะวา
นะโม การานุภาเวนะ สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา
นะโม การัสสะ เตเชนะ วิธิมหิ โหมิ เตชะวา ฯ

◄ll กลับสู่ด้านบน

มังคะละสุตตัง (พระสูตรว่าด้วยเหตุให้เกิดสิริมงคล)
อะเสวะนา จะ พาลานัง ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา,
ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ

ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา,
อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ

พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ วินะโย จะ สุสิกขิโต,
สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ

มาตาปิตุอุปัฏฐานัง ปุตตะทารัสสะ สังคะโห,
อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ

ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห,
อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ

อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม,
อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ

คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา,
กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ

ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะรารัญจะ ทัสสะนัง,
กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ

ตะโป จะ พรัหมะจะริยัญจะ อะริยะสัจจานะทัสสะนัง,
นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ

ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ,
อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ

เอตาทิสานิ กัตวานะ สัพพัตถะมะปะราชิตา,
สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติฯ

◄ll กลับสู่ด้านบน

รัตนสูตร
(ว่าด้วยรัตนทั้ง 3 คือพระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ์
สวดเพื่อปัดเป่าอุปัทวันตรายให้หมดไป)
ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา
สะเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง
นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง
ยะทัชฌะคา สัก์ยะมุนี สะมาหิโต
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ
อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยีสุจิง
สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ
อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา
จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ
เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา
เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ
นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ
เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ
ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง
วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัสมิง
เต ขีระพีชา อะวิรุฬหิฉันทา
นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

◄ll กลับสู่ด้านบน

กะระณียะเมตตะสุตตัง
กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันทัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ,
สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี.

สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ,
สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ.

นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง,
สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา.

เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสลา,
ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา
ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร,

ภูตา วา สัมภะเวสี วา สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา.
นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ,
พยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ.

มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข,
เอวัมปิ ลัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง.

เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง,
อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสัมปัตตัง.
ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ,
เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ.
ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน,
กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ขาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ.

◄ll กลับสู่ด้านบน

ขันธะปะริตตะคาถา
วิรูปักเขหิ เม เมตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม,
ฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ,
อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม,
จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม,
มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก,
มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท.
สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา,
สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันตุ มา กิญจิ ปาปะมาคะมา.

อัปปะมาโณ พุทโธ, อัปปามาโณ ธัมโม, อัปปะมาโณ สังโฆ, ปะมาณะ
วันตานิ สิริงสะปานิ, อะหิวิจฉิกา สะตะปะที อุณณา นาภี สะระพู
มูสิกา, กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา, ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ, โสหัง
นะโม ภะคะวะโต, นะโม สัตตันนัง สัมมา สัมพุทธานัง.

◄ll กลับสู่ด้านบน

โมระปริตร ( คาถาของนกยูงทองทำให้แคล้วคลาดจากภัยพิบัติทั้งปวง )
๑. อุเทตะยัญจักขุมา เอกราชา
หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง

๒. เย พรัห์มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ
นะมัตถุ พุทธานัง มะมัตถุ โพธิยา
นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา
อิมัง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร จะระติ เอสะนา

๓ . อะเปตะยัญจักขุมา เอกราชา
หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง

๔ . เย พรัห์มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ
นะมัตถุ พุทธานัง มะมัตถุ โพธิยา
นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา
อิมัง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร วาสะมะกัปปะยีติ ฯ

◄ll กลับสู่ด้านบน

วัฏฏกปริตร ( คาถานกคุ่ม ทำให้แคล้วคลาดจากอุปัทวันตรายทั้งปวง )
อัตถิ โลเก สีละคุโณ สัจจัง โสเจยยะนุททะยา
เตนะ สัจเจนะ กาหามิ สัจจะกิริยะมะนุตตะรัง
อาวัชชิตวา ธัมมะพะลัง สะริตวา ปุพพะเก ชิเน
สัจจะพะละมะวัสสายะ สัจจะกิริยะมะกาสะหัง
สันติ ปักขา อะปัตตะนา สันติปาทา อะวัญจะนา
มาตา ปิตา จะ นิกขันตา ชาตะเวทะ ปะฏิกกะมะ
สะหะ สัจเจ กะเต มัยหัง มะหาปัชชะลิโต สิขี
วัชเชสิ โสฬะสะกะรีสานิ อุทะกัง ปัตวา ยะถา สิขี
สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ เอสา เม สัจจะปาระมีติ ฯ

◄ll กลับสู่ด้านบน

อะภิณหะปัจจะเวกขะณะ
ชะราธัมโมมหิ เรามีความแก่เป็นธรรมดา
ชะรัง อะนะตีโต (อะนะตีตา) เราจะล่วงพ้นจากความแก่ไปไม่ได้
พยาธิธัมโมมหิ เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา
พยาธิธัง อะนะตีโต (อะนะตีตา) เราจะล่วงพ้นจากความเจ็บไข้ไปไม่ได้
มะระณะธัมโมมหิ เรามีความตายเป็นธรรมดา
มะระณัง อะนะตีโต (อะนะตีตา) เราจะล่วงพ้นจากความตายไปไม่ได้
สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว
เราจะละเว้นเป็นต่างๆ คือว่า จะได้พลัดพรากจากของรักของเจริญใจ ทั้งสิ้นไป
กัมมัสสะโกมหิ เรามีกรรมเป็นของของตน
กัมมะทายาโท เรามีกรรมเป็นทายาท
กัมมะโยนิ เรามีกรรมเป็นกำเนิด
กัมมะพันธุ เรามีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์
กัมมะปะฏิสะระโณ เรามีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย
ยัง กัมมัง กะริสสามิ เราจะทำกรรมอันใดไว้
กัลยาณัง วา เป็นกัลยาณมิตร
ปาปะกัง วา เป็นบุญก็ดี เป็นบาปก็ดี
ตัสสะ ทายาโท (ทายาทา) ภะวิสสามิ เราจะได้รับผลของกรรมนั้นสืบไป
อิตถินา วา หญิงก็ดี
ปุริเสนะ วา ชายก็ดี
คะหัฏเฐนะ วา คฤหัสบดีก็ดี
ปัพพะชิเตนะ วา บรรพชิตก็ดี
อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง เราทั้งหลายควรพิจารณาอย่างนี้ ทุกวัน ๆ เถิด.

◄ll กลับสู่ด้านบน

กายะคะตาสะติภาวะนา
อะยัง โข เม กาโย กายของเรานี้แล
อุทธัง ปาทะตะลา เบื้องบน แต่พื้นเท้าขึ้นมา
อะโธ เกสะมัตถะกา เบื้องต่ำ แต่ปลายผมลงไป
ตะจะปะริยันโต มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ
ปูโร นานัปปะการัสสะ อะสุจิโน เต็มไปด้วยของไม่สะอาด มีประการต่างๆ

อัตถิ อิมัสมิง กาเย มีอยู่ในกายนี้
เกสา คือ ผมทั้งหลาย โลมา คือ ขนทั้งหลาย
นะขา คือ เล็บทั้งหลาย ทันตา คือ ฟันทั้งหลาย
ตะโจ คือ หนัง มังสัง คือ เนื้อ
นะหารู คือ เอ็นทั้งหลาย อัฏฐิ คือ กระดูกทั้งกลาย
อัฏญิมิญชัง เยื่อในกระดูก วักกัง ม้าม
หะทะยัง หัวใจ ยะกะนัง ตับ
กิโลมะกัง พังผืด ปิหะกัง ไต
ปัปฝาสัง ปอด อันตัง ไส้ใหญ่
อันตะคุณัง ไส้น้อย อุทะริยัง อาหารใหม่
กะรีสัง อาหารเก่า ปิตตัง น้ำดี
เสมหัง น้ำเสลด ปุพโพ น้ำเหลือง
โลหิตัง น้ำเลือด เสโท น้ำเหงื่อ
เมโท น้ำมันข้น อัสสุ น้ำตา
วาสะ น้ำมันเหลว เขโฬ น้ำลาย
สิงฆาณิกา น้ำมูก ละสิกา น้ำไขข้อ
มุตตัง น้ำมูตร

เอวะมะยัง เม กาโย กายของเรานี้อย่างนี้
อุทธัง ปาทะตะลา เบื้องบน แต่พื้นเท้าขึ้นมา
อะโธ เกสะมัตถะกา เบื้องต่ำ แต่ปลายผมลงไป
ตะจะปะริยันโต มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ
ปูโร นานัปปะการัสสะ อะสุจิโน เต็มไปด้วยของไม่สะอาด มีประการต่างๆ ดังนี้แล.

◄ll กลับสู่ด้านบน

บารมี ๓๐ ทัศ
ทานะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
ทานะ อุปะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
ทานะ ปะระมัตถะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

สีละ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
สีละ อุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
สีละ ปะระมัตถะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
เนกขัมมะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
เนกขัมมะ อุปะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
เนกขัมมะ ปะระมัตถะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

ปัญญา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
ปัญญา อุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
ปัญญา ปะระมัตถะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

วิริยะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
วิริยะ อุปะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
วิริยะ ปะระมัตถะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

ขันติ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
ขันติ อุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
ขันติ ปะระมัตถะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

สัจจะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
สัจจะ อุปะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
สัจจะ ปะระมัตถะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

อธิษฐานะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
อธิษฐานะ อุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
อธิษฐานะ ปะระมัตถะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

เมตตา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
เมตตา อุปะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
เมตตา ปะระมัตถะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
อุเบกขา อุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
อุเบกขา ปะระมัตถะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

ทะสะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
ทะสะ อุปะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
ทะสะ ปะระมัตถะ ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

◄ll กลับสู่ด้านบน

ไหว้พระพุทธเจ้า ๕ พระองค์

( พึงนั่งคุกเข่า )

(๑) อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
นะโม ข้าจะไหว้พระพุทธเจ้าองค์ที่ ๑ ชื่อว่า พระกะกุสันโธ (*)

(๒) อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
นะโม ข้าจะไหว้พระพุทธเจ้าองค์ที่ ๒ ชื่อว่า พระโกนาคะมะโน (*)

(๓) อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
นะโม ข้าจะไหว้พระพุทธเจ้าองค์ที่ ๓ ชื่อว่า พระกัสสะโป (*)

(๔) อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
นะโม ข้าจะไหว้พระพุทธเจ้าองค์ที่ ๔ ชื่อว่า พระโคตะโม (*)

(๕) อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
นะโม ข้าจะไหว้พระพุทธเจ้าองค์ที่ ๕ ชื่อว่า พระศรีอริยะเมตไตรโย (*)
* เมื่อดับจิตไปขออย่าได้ใหลหลง ตั้งจิตจำนง จงใจพระนิพพาน
ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคล้วจากบ่วงมาร นิพพานะ ปัจจะโย โหตุ ( กราบ )

◄ll กลับสู่ด้านบน

คำแผ่เมตตา

( พึงนั่งพับเพียบ )

อะหัง สุขิโต โหมิ นิททุกโข โหมิ อะเวโร โหมิ
อัพยาปัชโฌ โหมิ อะนีโฆ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหารามิ

สัพเพ สัตตา สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ
สัพเพ สัตตา อัพยาปัชฌา โหนตุ สัพเพ สัตตา อะนีฆา โหนตุ
สัพเพ สัตตา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
สัพเพ สัตตา สุขิโน โหนตุ อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสัมปะตัง
สัพเพ สัตตา อะโรคา โหนตุ สัพเพ สัตตา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
สัพเพ สัตตา ลัทธะสุขะสัมปิตติโต มา วิคัจฉันตุ
สัพเพ สัตตา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัม
มะปะฏิสะระณัง, ยัง กัมมัง กะริสสามิ กัลยาณัง วา ปาปะกังวา, ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
สัพเพ สัตตา สทา โหนตุ อะเวรา สะขะชีวิโน

ขอให้สัตว์ทั้งหลาย อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย
จงเป็นผู้ดำรงชีพ อยู่เป็นสุขทุกเมื่อเถิด

กะตัง ปุญญังพลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี กะวันตุ เต
ขอให้สัตว์ทั้งหลาย ได้เสวยผลบุญที่ข้าพเจ้าได้บำเพ็ญ
ด้วยกาย วาจา ใจ แล้วนั้นเทอญฯ.

◄ll กลับสู่ด้านบน


webmaster - 13/2/09 at 18:20


(Update 6 พ.ย. 51)

บทสวดมนต์ภาษาอังกฤษ

เนื่องจากมีอีเมล์มายังผู้จัดทำ ประสงค์จะได้คำสวดมนต์เป็นภาษาอังกฤษ เพื่อจะได้ให้เพื่อนชาวต่างชาติศึกษาพุทธศาสนา จึงได้นำสวดมนต์ทำวัตรจากเว็บอื่นมาให้อ่านกันก่อน ส่วนคำถวายสังฆทานและคำอุทิศส่วนกุศลแบบวัดท่าซุง หากใครแปลได้ช่วยจัดส่งมาลงไว้ ณ ที่นี้ด้วย

WORSHIP TO THE TRIPLE GEM
Imina Sakkarena, Tam Buddham Abhipujayami

With this offering, I worship the Buddha.

Imina Sakkarena, Tam Dhammam Abhipujayami

With this offering, I worship the Dhamma.

Imina Sakkarena, Tam Sangham Abhipujayami

With this offering, I worship the Sangha.


SALUTATION TO THE TRIPLE GEM
Araham samma sambuddho bhagava, Buddham bhagavantam abhivademi.

The Buddha is the Blessed One, the all enlightened One, The Holy One, I pay homage to that Buddha.

(Make a prostration to show respect)


Svakkhato bhagavata dhammo, Dhammam namassami.

Well-preached the teaching of the Buddha, I pay homage to that Dhamma.

(Make a prostration to show respect)


Supatipanno bhagavato savakasangho, Sangham namami.

Well behaved the Noble Diseiples of the Buddha, I pay homage to that Sangha.

(Make a prostration to show respect)


SALUTATION TO THE TRIPLE GEM. (PALI)
Araham Samma Samsambhuddo Bhagava,

Buddham Bhagavantam Abhivademi.

(Make a prostration to show respect)


Svakkhato Bhagavata Dhammo,

Dhammam Namassami,

(Make a prostration to show respect)


Supatipanno Bhagavato Savakasangho,

Sangham Namami.

(Make a prostration to show respect)


SALUTATION TO THE TRIPLE GEM (TRANSLATION)
Homage to Him, the Buddha, the Blessed One, the Holy One, the all
Enlightened One.
(Make a prostration to show respect)


Homage to the Dhamma, the Noble Doctrine, well-preached

by the Blessed One.

(Make a prostration to show respect)


Homage to the Sangha, the Noble Bhikkhus of the Blessed One.

(Make a prostration to show respect)


SALUTATION TO THE BUDDHA (PALI)
Leader: Handa mayam buddhassa bhagavato pubbabhaganamakaram
karoma se.

All: Namo tassa bhagavato arahato samma sambuddhassa.

Namo tassa bhagavato arahato samma sambuddhassa.

Namo tassa bhagavato arahato samma sambuddhassa.


SALUTATION TO THE BUDDHA (TRANSLATION)
Leader: Let us pay preliminary homage to our Load, the Buddha,

the Blessed One.

All: Homage to Him, the Blessed One, the Holy One, the Enlightened One.

Homage to Him, the Blessed One, the Holy One, the Enlightened One.

Homage to Him, the Blessed One, the Holy One, the Enlightened One.


MORNING CHANTING (PALI)

PRAISE TO THE BUDDHA (PALI)
Leader: Handa mayam Buddhabhithutim Karoma Se.

All: Yo so tathagato araham sammasambuddho,

Vijjacaranasampanno Sugato Lokavidu,

Anuttaro Purisadammasarathi

Sattha Devamanussanam Buddho Bhagava,

Yo imam lokam sadevakam samarakam sabrahmakam,

Sassamanabrahmanim Pajam Sadevamanussamsayam

Abhinna sacchikattava pavedesi

Yo dhammam desesi adikalyanam majjhekalyanam

Pariyosanakalyanam satthamsabyanjanamkevalaparipunnam

Parisuddham drahmacariyam pakasesi,

Tamaham Bhagavantam abhipujayami

Tamaham Bhagavantam sirasa namami


(Make a prostration to show respect)



PRAISE TO THE BUDDHA (TRANSLATION)
Leader: Let us now chant our praise the the Buddha.

All: He is the Great Being, the Holy One, the All-Enlightened one, Perfect in knowledge and conduct, Well-gone, World knower, Supreme Trainer of those that can be trained, Teacher of gods and men, the Awakend One, the Blessed One. He, having attained Enlightenment himself, has proclaimed the Path of Enlightenment of mankind, to gods, to Mara the Evil one, to the world of Brahma, (that is to say) to sentiment beings including the Samana which noble in the beginning, noble in the middle, noble in the end, with respect to the meaning and wording. He has declared the life of chastity, which is absolutely perfect as well as purified. Hereby I beg to worship Him the Blessed One. With my head I bed to pay homage to Him, the Blessed One.


PRAISE TO THE DHAMMA (PALI)
Leader: Handa mayam Dhammabhithutim karoma se.

All: Yo so Svakkhato bhagavata dhammo, sanditthiko, akaliko, ehipassiko, Opanayiko, paccattam veditabbho vinnuhiti.

Tamaham dhammam abhipujayami

Tamaham dhammam sirasa namami

(Make a prostration to show respect)


PRAISE TO THE DHAMMA (TRANSLATION)
Leader: Let us now chant our praise to the Dhamma.

All: That Doctrine, well preached by the Blessed One, giving results visible, immdediate, exemplary, and to be individually experienced by the virtuous ones. Hereby, I bed to worship the Dhamma. With my head, I bed to pay homage to the Dhamma.

(Make a prostration to show respect)



PRAISE TO THE SANGHA (PALI)
Leader: Handa mayam sanghabhithutim karoma se.

All: Yo so Supatipanno bhagavato savakasanggho,

Ujupatipanno bhagavato savakasanggho,

Nayapatipanno bhagavato savakasanggho,

Samicipatipanno bhagavato savakasanggho,

Yadidam cattari purisayugani attha purisapuggala,

Esa bhagavato savakasanggho, ahuneyyo, pahuneyyo, takkhineyyo, uncharigarneyyo, anuttaram, poonyagkettam, roghassat

Tamaham sangkam abhipujayami

Tamaham sangkam sirasa namami

(Make a prostration to show respect)


PRAISE TO THE SANGHA (TRANSLATION)
Leader: Let us now chant our praise to the Sangha.

All: Of good conduct is the Order of the Blessed One. Of upright conduct is the Order of the Blessed One. Of noble conduct is the Order of the Blessed One. Of dutiful conduct is the Order of the Blessed One. This Order is thus composed of the four pairs of the Noble Disciples, constituting the eight categories of the Holy Ones. This is the Order of the Blessed One, which is worthy of offerings, worthy of welcome, worthy of obligations, worthy of respectful salutation, being like and excellent field to sow the seeds of merit on. I hereby bed to worship the Sangha. With my head I beg to pay homage to the Sangha.

(Make a prostration to show respect)

***********

“Ekayano ayam bhikkave sattanam visuddhiya, sokaparidevanam samatikkamaya, dukkhadomanassanam, Nanassa adhigamaya, nibbhanassa sacchikiriya yadidam cattaro satipatthana”


“Look, you who find the cycle of rebirth harmful, the foundations of

mindfulness are the only way to the purification of all beings, the extinction of all sorrows and lementation, the end of all suffering and grief, and the attainment of nibbhana”

(Mahasatipatthana Sutta)


EVENING CHANTING (PALI)

PRAISE TO THE BUDDHA (PALI)
Leader: Handa mayam Buddhanussatinayam Karoma Se.

All: Itipi So Bhagava Araham Samma Sambuddho Vijjacaranasampanno Sugato Lokavidu Anuttaro Purisadammasarathi Sattha Devamanussanam Buddho Bhagavati.

(Make a prostration to show respect)


Kayena vacaya va cetasa va,

Buddhe Kukammam pakatam maya yam

Buddho patigganhatu accayantam,

Kalantare samvaritum va Buddhe.


PRAISE TO THE BUDDHA (TRANSLATION)
Leader: Let us now recit the hymn of recallection of the Lord Buddha.

All: The Lord Buddha is the Holy One, the All-Enlightened One, Perfect in know-ledge and conduct, Well-fair maker, world knower, Supreme Trainer, Teacher of gods and men, the Awakened, the Blessed One. (Make a prostration to show respect)


Whatever misdeeds I have done towards the Buddha, Whether they were physical, or verbal or mental. May that offence be pardoned by the Buddha for the Sake of later restrain towards the Buddha.


PRAISE TO THE DHAMMA (PALI)
Leader: Handa mayam Dhammanussatinayam karoma se.

All: Svakkhato bhagavata dhammo, sanditthiko, akaliko, ehipassiko, Opanayiko, paccattam veditabbho vinnuhiti. (A moment’ pause for the mental recapitulation of the above mentioned points)

(Make a prostration to show respect)


Kayena vacaya va cetasa va

Dhamme kukammam pakatam maya yam.

Dhammo patigganhatu accayantam,

Kalantare samvaritum va dhamme.


PRAISE TO THE DHAMMA (TRANSLATION)
Leader: Let us now say our salutation to the Dhamma.

All: The Doctrine, well-preached by the Blessed One, giving results visible, immediate, exemplary, introspective and individually experienced by the virtuous ones.

(Make a prostration to show respect)


Whatever misdeeds I have done towards the Dhamma, whether they were physical, verbal or mental, may that offence be pardoned by the Dhamma, for the sake of later restraint towards the Dhamma.


PRAISE TO THE SANGHA (PALI)
Leader: Handa mayam sanghanussatinayam karoma se.

All: Supatipanno bhagavato savakasanggho,

Ujupatipanno bhagavato savakasanggho,

Nayapatipanno bhagavato savakasanggho,

Samicipatipanno bhagavato savakasanggho,

Yadidam cattari purisayugani attha purisapuggala,

Esa bhagavato savakasanggho, ahuneyyo, pahuneyyo, takkhineyyo, uncharigaraneyyo, anuttaram, poonyagkettam, roghassati.

(Make a prostration to show respect)


Kayena vacaya va cetasa va

Sanghe kukammam pakatam maya yam.

Sangho patigganhatu accayantam,

Kalantare samvaritum va Sanghe.


PRAISE TO THE SANGHA (TRANSLATION)
Leader: Let us now say our salutation to the Sangha.

All: Of good conduct is the Order of the Blessed One. Of upright conduct is the Order of the Blessed One. Of virtuous conduct is the Order of the Blessed One. Of dutiful conduct is the Order of the Blessed One. This Order is thus composed of the four pairs of the Holy Disciples, constituting the eight categories of the Holy One. This is the Order of the Blessed One, which is worthy of offerings, worthy of welcome, worthy of obligations, worthy of respectful salutation, being like an excellent field to sow the seeds of merit on. (Make a prostration to show respect)


Whatever misdeeds I have done towards the Sangha, whether they were physical, verbal or mental, may that offence be pardoned by the Sangha, for the sake of later restraint towards the Sangha.


RADIATION OF LOVING KINDNESS
(To one’ own self)

Aham Sukhito homi: May I be happy.

Niddukkho homi: May I be free from suffering.

Avero homi: May I be free from enmity.

Abyapajjho homi: May I be free from hurtfulness.

Anigho homi: May I be free from troubles of body and mind.

Sukhi attanam pariharami: May I be able to protect my own happiness.

(To all beings)

Sabbe satta: Whatever beings there are,

Sukhita hontu: May they be happy.

Niddhukka hontu: May they be free from suffering.

Avera hontu: May they be free from enmity.

Abyapajjha hontu: May they be free from hurtfulness.

Anigha hontu: May they be free from troubles of body and mind.

Sukhi attanam pariharantu: May they be able to protect their own happiness.

◄ll กลับสู่ด้านบน

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ที่มา -
www.dhammajak.net/suadmon2/4.html
www.siamlocalnews.com